|
 |
|
 |
|
ความเกียจคร้าน - ธรรมคำสอนหลวงมั่น ภูริทัตโต |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
 |
 |
|
 |
|
คำตอบที่ 4
|
|
|
 |
๑๒.ฆราวาสธรรม
ฆราวาสธรรม คือ หลักธรรมสำหรับผู้ครองเรือน ที่จำเป็นต้องมีอยู่ประจำ เพื่อเสริมให้มีความสุขยิ่งขึ้น พระพุทธองค์ได้ตรัสกะยักษ์ ชื่ออาฬวกะ ปรากฎอยู่ในอาฬวกสูตร (๑๕/๒๙) มี ๔ ประการ คือ
๑. สัจจะ คือ ความจริง ดำรงมั่นอยู่ในสัจจะ ซื่อตรง ซื่อสัตว์ จริงใจ พูดจริง ทำจริง เป็นเหตุนำมาซึ่งความเชื่อถือ หรือไว้วางใจได้
๒. ทมะ คือ ฝึกตน ปรับปรุงตน บังคับควบคุมตนเองได้รู้จักปรับตัว และแก้ไขปรับปรุงตน ให้เจริญก้าวหน้าอยู่เสมอ รวมทั้งการยอมรับและแก้ไขสิ่งบกพร่องของตนด้วย
๓. ขันติ คือ อดทน อดทนต่อความหนาว ร้อน หิว กระหาย ทนตรากตรำ ทนต่อความเจ็บใจ ทนข่มอารมณ์ของตนได้ ทนต่อความยั่วยวนต่าง ๆ อดทนต่ออำนาจฝ่ายต่ำ อดทนต่อการทำการงาน
๔. จาคะ คือ เสียสละ เอื้อเฟื้อ เกื้อกูล ช่วยเหลือบำเพ็ญประโยชน์ สละความโกรธ ความเห็นแก่ตัว มีใจกว้างร่วมงานกับคนอื่นได้ สละอารมณ์ขุ่นมัวภายในจิตใจได้
หลักฆราวาสธรรม ส่วนใหญ่ก็มีในที่อื่น ๆ ดังที่ยกมาแสดงแล้ว แต่จำเป็นต้องเอามาเขียนอีก ก็เพื่อจะเน้นเฉพาะข้อ ทมะ เท่านั้น และที่ต้องยกมาทั้งชุด ก็เพื่อจะให้รู้ว่าธรรมะข้อทมะนี้มาในชุดฆราวาสธรรม
ทมะ ผู้เขียนอยากจะชี้ธรรมข้อนี้ว่า เป็น "หัวใจ" ของธรรมข้ออื่น ๆ อีกมาก ถ้าใครขาดธรรมข้อนี้แล้ว ชีวิตจะไม่ก้าวหน้า หรือพัฒนาไม่ขึ้นเอาเลยทีเดียว เรามาดู "จุดเด่น" ของทมะกันสักเล็กน้อย
ทมะ คือ ฝึกฝน หรือปรับปรุงตน นั่นก็หมายความว่า ใครที่มีทมะเป็นธรรมประจำในจิตใจแล้ว คนนั้นไขลานเดิน คือสามารถที่จะฝึกฝนและปรับปรุงตน ให้ดีขึ้นให้สูงขึ้นไปตามลำดับ จนถึงขั้นสูงสุดได้ไม่ยากนัก อย่าว่าแต่เพียงความสุขขั้นธรรมดาสามัญเลย
เราต้องยอมรับความจริงว่า ปุถุชนทุกคนที่เกิดมา ย่อมจะต้องมี "เชื้อแห่งความโง่" ติดมาบ้างไม่มากก็น้อย ดังนั้นใครที่เกิดมาแล้ว ไม่มีการฝึกฝนปรับปรุงตน มันก็จะดักดานย่ำเท้าอยู่กับที่ ไม่ว่าจะได้รับการสั่งสอน หรือศึกษาเล่าเรียนอะไร ? ก็ไม่อาจที่จะพัฒนาตนเองให้ดีขึ้นได้ ถ้าหากว่าผู้นั้นขาดทมะ
ดังนั้น ผู้หวังความก้าวหน้า หวังความเจริญทั้งร่างกายและจิตใจ หวังความสุขที่สมบูรณ์ ก็จำเป็นที่จะต้องน้อมนำเอาทมะเข้ามาไว้ในตนให้ได้ แล้วธรรมะข้ออื่น ๆ ก็จะตามเข้ามาเป็นแถว นั่นก็คือชีวิตก็ย่อมจะประสบความสำเร็จ ไม่แต่เฉพาะของผู้ครองเรือนเท่านั้น แม้ในชีวิตของนักบวชก็ย่อมจะบรรลุธรรมขั้นสูงสุดได้ นั่นคือการบรรลุพระนิพพาน อันเป็นยอดของความสุข.
http://www.dhammajak.net/book/sukha/sukha12.php
rockonyou
20 พ.ค. 55
เวลา 1:49:00 IP = 98.14.37.3
|
|
|
 |
|
 |
 |
|
 |
|
คำตอบที่ 7
|
|
|
 |
บันทึกธรรม โดยพระราชนิโรธรังสี คัมภีร์ปัญญาวิศิษฏ์(เทส เทสรังสี)
(๕๐) ของง่ายนิดเดียว แต่เราไปทำให้ยุ่งต่างหาก อันแสดงถึงการวาง(ปลง) ความยึดของจิตไม่ถูกนั้นเอง เราปล่อยวาง ทำใจให้เฉยตามสภาพของมันแล้ว ก็หมดเรื่องเท่านั้นเอง การต่อสู้กับอารมณ์ที่ค้างอยู่ภายในจิตนั้น(เป็นการเดินมรรค) เมื่อเอาชนะมันได้แล้ว จิตสงบเป็นกลางวางเฉย หากอารมณ์ใหม่จะเกิดขึ้นมาอีก เราจะต้องยึดความเป็นกลางไว้ก่อนเสมอ แล้วจึงน้อมเอาจิตส่วนหนึ่ง ออกไปตรวจค้นพิจารณาดู ให้เห็นเหตุผลของอารมณ์นั้นๆ อารมณ์นั้นก็จะหายไป แล้วมากำหนดไว้ตรงที่เดิมอีก เมื่อทำได้อย่างนี้ทุกๆ กรณีจะเป็นการเดินมรรค ( อ่านความหมายของ มรรค ได้ที่ข้างล่างครับ อนุโมทนาครับ ) ที่สม่ำเสมอดีมาก แลมั่นคงที่สุด
* มรรค * มรรค, มรรค-, มรรคา ความหมาย
[มัก, มักคะ-, มันคา] น. ทาง; เหตุ, ใช้คู่กับ ผล ว่า เป็นมรรคเป็นผล; ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ - ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ - ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา - การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ - การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ - การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ - ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ - ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ -ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง. (ส. มารฺค; ป. มคฺค).
* มรรค * คำแปล
[มัก] (มค. มคฺค; สก. มารฺค) น. ทาง; ในพระพุทธศาสนาหมายถึง ธรรมอันฆ่าเสียซึ่งกิเลส, ธรรมอันยังกิเลสให้ตาย, เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกิทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, เป็นชื่อแห่งอริยสัจที่ ๔ เรียกว่ามรรคสัจ (เหมือน มรรค).
่ืัที่มา : http://guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=%C1%C3%C3%A4&select=1
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=7&t=32452&sid=2fc01267174e4a1df317d8e0a7f84702
rockonyou
20 พ.ค. 55
เวลา 2:04:00 IP = 98.14.37.3
|
|
|
 |
|
 |
 |
|
 |
|
คำตอบที่ 9
|
|
|
|
ประเทศไทยโชคดีีที่มีในหลวง 44
@ ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน @
rockonyou
20 พ.ค. 55
เวลา 2:13:00 IP = 98.14.37.3
|
|
|
 |
|
 |
 |
|
 |
|
คำตอบที่ 10
|
|
|
|
ธรรมะ สวัสดี ครับ...
อนุโมทนาครับ ท่าน rockonyou .
peter midi
20 พ.ค. 55
เวลา 6:34:00 IP = 223.207.199.226
สมาชิกแบบพิเศษ
|
|
|
 |
|
 |
 |
|
 |
|
คำตอบที่ 11
|
|
|
 |
ขอบคุณครับ ....
gula101
20 พ.ค. 55
เวลา 6:57:00 IP = 110.49.242.162
|
|
|
 |
|
 |
 |
|
 |
|
คำตอบที่ 13
|
|
|
 |
ศึกษาธรรมะไว้ดีเเล้วครับพี่ BOON BOON! อนุโมทนาครับพี่ BOON BOON!
rockonyou
20 พ.ค. 55
เวลา 11:13:00 IP = 98.14.37.3
|
|
|
 |
|
 |
 |
|
 |
|
คำตอบที่ 14
|
|
|
 |
ปล. ขออภัยครับ พอดีลืมลงกระทู้ ลักษณะของคนที่น่ารัก ต่อ ขอลงตอนนี้เเล้วกันครับ อนุโมทนาครับ
ลักษณะของคนที่น่ารัก
• เป็นคนไม่พูดมากจนเขาเบื่อ คือใครก็ตามถ้าไม่รู้จักประมาณตนในการพูด พูดพล่ามพูดไร้สาระหรือพูดมากจนเกินไป จนคนทั้งหลายเบื่อฟังและรู้สึกรำคาญไม่อยากฟัง อยากออกไปเสียให้ห่าง เมื่อคนนั้นพูด คนเช่นนี้แม้จะมีความรู้ความสามารถดี ก็หาเป็นที่รัก แลเป็นที่เคารพของคนทั้งหลายไม่ ถ้ายิ่งเป็นคนต่ำต้อยอยู่แล้ว ก็ยิ่งเป็นที่เกลียดชังของคนทั้งหลายยิ่งขึ้น ฉะนั้น คนที่ฉลาดและน่ารักจึงพูดแต่พอประมาณไม่พูดมากจนเขาเบื่อ แต่พูดมีสาระน่าฟัง เช่นพูดแนะนำหรือพูดสร้างสรรค์ เป็นต้น และเมื่อพูดสิ่งใดก็คิดใคร่ครวญก่อนแล้วจึงพูด คนเช่นนี้ย่อมเป็นที่รักใคร่เคารพนับถือของคนทั้งหลายและย่อมได้รับความเอ็นดู ความเกื้อกูลจากคนทั่วไป ฉะนั้น คนที่มีลักษณะนิสัยที่น่ารัก จึงไม่พูดมากจนเขาเบื่อแต่เป็นผู้พูดพอประมาณ
http://www.kanlayanatam.com/sara/sara86.htm
rockonyou
20 พ.ค. 55
เวลา 11:30:00 IP = 98.14.37.3
|
|
|
 |
|
 |
 |
|
 |
|
คำตอบที่ 17
|
|
|
อนุโมทนาครับทุกคน ขอให้โชคดีครับ
rockonyou
17 ก.ย. 63
เวลา 7:36:00 IP = 24.90.61.129
|
|
|
 |
|
 |
|